top of page

อุ่นเครื่อง : คำถามอยากรู้คุยกับกูรูงาน Dinner Talk
(เมษายน ๒๕๖๐ - ปรับปรุง กรกฎาคม ๒๕๖๔)

ความรู้ทั่วไป ณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๑. พัฒนาการและยุคของ "วิศวกรรมไฟฟ้าและฟิสิกส์" : มองโลกมองไทย

(Development & milestones: civilization of electrical engineering and physics)

๑.๑ วิศวกรรมไฟฟ้าโลก

- (Michael Faraday ค.ศ.1831) : การเหนี่ยวนำทางแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic induction)

- (Cooke and Wheatstone ค.ศ. 1837) : สิทธิบัตรโทรเลขไฟฟ้า

- (James Clerk Maxwell ค.ศ.1873 ) : ไฟฟ้าและแม่เหล็ก(Electricity and Magnetism)

- (Thomas Edison ค.ศ.1879): หลอดไฟฟ้า และค.ศ.1882 ข่ายสายไฟฟ้า110 volts (DC)

  (AC โดยNikola Tesla)

- (Guglielmo Marconi ค.ศ.1895) โทรเลขไร้สาย (wireless telegraphic system)

- (William B. Shockley, John Bardeen, และWalter Brattain ค.ศ.1947 : ทรานซิสเตอร์

๑.๒ ฟิสิกส์โลก

- (กรีก ฯลฯ) ดวงดาว ดาราศาสตร์

- (Newton) ยุคเก่า (Classical physics)

- (Max Planck-quantum theory 1925, Albert Einstein-theory of relativity) ยุคใหม่(Modern physics)

๑.๓ เรื่องของเมืองไทย

- โทรเลขสายปากน้ำ (พ.ศ.2418)

- ไฟฟ้าไทย (พ.ศ.2427)

- โรงไฟฟ้าวัดเลียบ (พ.ศ.2441)

- ฟิสิกส์จุฬาฯ (พ.ศ.2460)

๑.๒ การศึกษาวิศวกรรมไฟฟ้าไทยและฟิสิกส์

- (Universität Darmstadt ค.ศ.1882) ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าแรกของโลก

- (Cornell University ค.ศ.1885) บัณฑิตวิศวกรรมไฟฟ้าแรกของโลก

- วิศวกรรมไฟฟ้าไทย ๑๐๕ ปีและฟิสิกส์ ๑๐๔ ปี (จุฬาฯ) พ.ศ.2460

๑.๓ สมาคมวิชาชีพนานาชาติ

- IEEE 137 ปี (American Institute of Electrical Engineers (AIEE, founded 1884).

- American Physical Society(APS) 122  ปี ค.ศ. 1899; 

the Royal Society UK 361 ปี ค.ศ.1660

๑.๓ สมาคมวิชาชีพไทย

- IEEE Thailand section 40 ปี

- สมาคมวิชาการ ECTI 19 ปี (พ.ศ. 2545)

- สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ 73 ปี (พ.ศ. 2491)  

- สมาคมฟิสิกส์ไทย xxx  

- ศูนย์ความเป็นเลิศด้านฟิสิกส์ 14 ปี (พ.ศ. 2550) 

๑.๔ การประชุมวิชาการ

- การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า (EECON) 43 ปี (พ.ศ. 2521)  

- การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วทท.) (ขาดช่วง) (ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๑๔)   

- SPC: Siam Physics Congress 15ปี (ตั้งแต่ พ.ศ. 2549)

…..............

๒. ประเด็นคำถาม หัวข้อที่สนใจ และอื่น ๆ

๒.๑ ด้านนโยบายและสังคม

สังคมเกษตรกรรม ไฟฟ้าขาดแคลน โรงไฟฟ้าถ่านหิน GT200 นิวเคลียร์ ขยะอิเล็กทรอนิกส์ แรงงานราคาถูก โรงงานเทคโนโลยีทักษะต่ำ สังคมบริการ การสื่อสารคมนาคม โลกร้อน ฯลฯ

 

๒.๒ ด้านการพัฒนาบุคลากร

- สภาวิศวกร (สาขาไฟฟ้า) วิศวกรรมสถานฯ

- โครงการฟิสิกส์โอลิมปิก พสวท. ตำแหน่งงานของนักฟิสิกส์นอกเหนือจาก “ครูอาจารย์” ฯลฯ

- วศบ. vs วทบ. (ความแตกต่างและช่องว่าง)

- ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า vs ภาควิชาฟิสิกส์  

(การผลิตวิศวกรล้นตลาดคุณภาพร่วง เป็นนักฟิสิกส์จากนักเรียนทุนหรือเรียนฟิสิกส์เพื่อเป็นครู)

- ฟิสิกส์กับอุตสาหกรรม vs วิศวกรรมไฟฟ้ากับงานวิจัย

๒.๓ ด้านการสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา

- วช. สกว. กสทช. ศูนย์วิจัยที่เกี่ยวข้อง ศูนย์ความเป็นเลิศด้านฟิสิกส์ ฯลฯ

- หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนบทบาทหน้าที่เช่น กสทช. ไม่มีด้านเทคนิค(วิจัยและพัฒนา) เหลือแต่ด้านกฏระเบียบ ฯ

- วิจัยขึ้นหิ้ง & ขาดแคลนนักวิจัย

๒.๔ ด้านหน่วยงานและเครือข่าย

รัฐวิสาหกิจไฟฟ้าและบริษัทลูก รัฐวิสาหกิจการสื่อสารสู่การแข่งขันแบบเอกชน เครือข่ายนักวิชาการนักวิจัย หน่วยงานกรมกองกระทรวง (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อุตสาหกรรม ศึกษาธิการ ICT)

 

…..............

๓. บันทึกประเด็นสนทนา & Quote:

 

"วิศวกรทำของเสียให้เป็นของดี"

"วิศวกรทำให้ได้มากกว่าเสีย"

"วิศวกรทำอยู่บนความเสี่ยง ไม่มี (ได้) 100%"

STEM (Science & Technology, Engineering, and Mathematics) vs

PHEM (Physics, Engineering, and Mathematics)

 

School of Physics & Engineering

…..............

๔. ทศวรรษหน้า ? 

บนสี่ปัจจัยพื้นฐาน บุคลากร วิทยาการ นโยบายและงบประมาณ

(พ.ศ. ๒๕๖๐ ฟิสิกส์ไทย ๑๐๐ ปี - จุฬาฯ)

๑. ฟิสิกส์ทำเรื่องพื้นฐานต้นน้ำที่ห่างไกล กับ การประยุกต์ปลายน้ำของวิศวกรที่อย่างไรก็ซื้อเขาหนักหน่วง สองสาขาจะร่วมกันแก้ไขอย่างไร ?

๒. ผ่านมาสี่ศวรรษแล้วกับวิทย์และเทคโนฯยุคใหม่ของเมืองไทย อย่างไรก็ไม่รอด เช่น ทั้งของเล็ก ๆ เครื่องมือเครื่องใช้ จนถึงเรื่องใหญ่ ๆ กับรถไฟฟ้ามหากาพย์ อีกสิบปีจะเป็นอย่างไร ?

กทม.

๓. บ้านเมืองมีปัญหาทั้งสองสาขาหายไปไหน เช่น GT200 ที่ปล่อยให้นักชีววิทยามาทำหน้าที่แทนโดยลำพัง !

นักศึกษาทุนไทย

ปทุมธานี

๔. ทุกโครงการวิจัยพื้นฐาน(ถาม)เน้นเริ่มที่ผู้ใช้งาน แต่ความรู้พื้นฐานยังมีไม่ อย่างนั้นซื้อเขาเอามาใช้เอามาขายดีกว่า จะทำวิจัยไปทำไม ?

๕. อุตสาหกรรมต้องการนักฟิสิกส์ไหม แล้ววิศวกรไทยจะมีงานยั่งยืนที่ปลายน้ำได้อย่างไร เมื่อธุรกิจและโรงงานของต่างชาติทยอยย้ายหนี 

Thai Quantum Information Forum

"จากนี้ไป วท.จะเน้นทำงานวิจัยเชิงประยุกต์ เน้นการสร้างสิทธิบัตรมากกว่าการเขียนบทความวิชาการ และจะเปิดรับการหารือพร้อมให้คำแนะนำกับผู้ประกอบการ เพื่อให้การใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ฯ เกิดผลสำเร็จอย่างยั่งยืน และนำประเทศก้าวสู่ไทยแลนด์ 4.0"

เปิดมหาวิทยาลัยและสถาบันการเรียนการสอนเทคโนฯลดแลกแจกดีกรีมากขึ้นแต่ผู้สนใจเรียนวิทย์และวิศวฯลดลงมาก ไปต่ออย่างไรดี ?

ECTI-Telecom

เอาอย่างไรดี ?

" ... โครงการหลักประกันสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ... หมอทั้งหลายค่อนข้างมีอุดมการณ์แน่วแน่กับงานเรืองนี้ และผลักดันกันมานับสิบๆปี จนเกิดผลในวันนี้ ... (แต่) แวดวง วท.มาตั้งแต่ปี ๒๕๑๗ (ดร.สง่า สรรพศรี) จนถึงเกษียณ เจอนักวิทยาศาสตร์ระดับชาติมาหลากหลาย แต่ยังรู้สึกว่าจุดยืนไม่มั่นคงและเป็นกลุ่มก้อนพอที่จะสร้างงานวิจัยของเราให้มีคุณค่าที่จะสร้างเป็นผลงานระดับชาติออกมาจนรับรู้ได้ แม้จนถึงปัจจุบันที่มีนักวิทย์ขึ้นไปนั่งบริหารระดับสูงมากก็ยังไม่สามารถที่จะทำให้เกิดได้ ..."

(... ลืมสาระสำคัญของวิชาชีพตัวเอง !) (กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐)

(ที่ปรึกษา)

ขอเชิญส่งคำถามมาร่วมกันสร้างสรรค์สังคมวิศวกรรมไฟฟ้าและฟิสิกส์ไทยร่วมกัน ณ บัดนี้ ที่นี่

รอท่านอยู่

ใคร ที่ไหน อย่างไร ?

Please reload

bottom of page